• May 20, 2024

“ศักดิ์สยาม” ชูท่าเรือ Tuas สิงคโปร์ ต้นแบบพัฒนาท่าเรือไทย

เมื่อวันที่9ก.ย.นายศักดิ์สยามชิดชอบรมว.คมนาคมเปิดเผยว่าได้เดินทางมาศึกษาดูงานเยี่ยมชมท่าเรือ Tuasที่สาธารณรัฐสิงคโปร์ซึ่งท่าเรือTuasเป็นแลนด์มาร์คที่มีความสำคัญและเป็นอนาคตของการขนส่งทางน้ำของสิงคโปร์โดยก่อสร้างบนพื้นที่จากการถมทะเลทั้งหมดมีการแบ่งโครงพัฒนาท่าเรือเป็น4ระยะซึ่งระยะแรก(เฟส1)จะสามารถรองรับตู้สินได้20ล้านทีอียูและเมื่อเสร็จสิ้นโครงการในระยะที่4ท่าเรือTuasจะเป็นท่าเทียบเรือตู้สินค้าที่ใหญ่ที่สุดในโลกโดยสามารถรองรับตู้สินค้าได้65ล้านทีอียูคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี85เมื่อพัฒนาครบ4ระยะท่าเรือTuasจะพลิกโฉมมาเป็นท่าเรือหลักของประเทศสิงคโปร์

ท่าเรือ Tuas เป็นหน่วยงานที่ให้สนับสนุนการใช้พลังงานทางเลือก โดยติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์สำหรับการจ่ายไฟ เพื่อใช้ภายในอาคารสำนักงาน และการใช้รถลำเลียงอัตโนมัติโดยใช้พลังงานไฟฟ้า (automated guided vehicle: AGV) ปฏิบัติงานในบริเวณท่าเรือ และมีการวางแผนใช้พลังงานสะอาดและระบบจัดเก็บ และจ่ายพลังงานไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงการพัฒนาการขนส่งที่ยั่งยืนเป็นสำคัญ

นายศักดิ์สยามกล่าวต่อว่าในโอกาสนี้ได้เข้าร่วมประชุมกับPSA International (PSA)ผู้ประกอบการท่าเรือชั้นนำระดับโลก(Global Terminal Operator: GTO)ที่มีเครือข่ายทั่วโลกครอบคลุมพื้นที่160แห่งใน42ประเทศด้วยซึ่งPSAให้บริการประกอบการท่าเรือน้ำลึกการขนส่งทางรถไฟตลอดจนธุรกิจในเครือในด้านการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง อาทิ Districpark และ Cargo warehouseนอกจากนี้PSAยังร่วมมือพันธมิตรเพื่อให้บริการท่าเรือระดับโลกควบคู่ไปกับการพัฒนาโซลูชั่นการขนส่งสินค้าที่เป็นนวัตกรรมใหม่ด้วยคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง

นายศักดิ์สยามกล่าวอีกว่าในปี64มีปริมาณตู้สินค้าผ่านท่าที่ประกอบการโดยPSAทั่วโลกถึง91.5ล้านทีอียูและมีปริมาณตู้สินค้าผ่านท่าเรือPSAณสิงคโปร์อยู่ที่37.2ล้านทีอียูหรือคิดเป็นสัดส่วน35%ของปริมาณตู้สินค้าของPSAทั่วโลกอย่างไรก็ตามPSAยังให้ความสำคัญกับประเด็นด้านดิจิทัลเทคโนโลยีนวัตกรรมและสิ่งแวดล้อม

อาทิการพัฒนาท่าเรืออัตโนมัติ(Port Automation)ในการเพิ่มประสิทธิภาพความสะดวกและความปลอดภัยในการปฏิบัติงานท่าเรือเพิ่มสุขภาวะที่ดีในการทำงานให้แก่พนักงานของท่าเรือและการพัฒนาระบบPort Community System (PCS)เพื่อเป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงข้อมูลแบบไร้รอยต่อ(Seamless Operation)ระหว่างภาครัฐเอกชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งจะช่วยลดต้นทุนและระยะเวลาการขนส่งสินค้าของผู้ประกอบการ

นายศักดิ์สยามกล่าวด้วยว่าจากการหารือและเยี่ยมชมท่าเรือTuasครั้งนี้ได้มอบนโยบายให้กระทรวงคมนาคม และ การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) นำข้อมูลที่เป็นประโยชน์ทั้งPort Automation, Sustainability, Port Community Systemไปประยุกต์ใช้สำหรับการกำหนดนโยบายพัฒนาท่าเรือของไทยเพื่อรองรับพลวัตการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมท่าเรือที่มีอยู่อย่างต่อเนื่องในปัจจุบันทั้งในด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของท่าเรือ(Port operations)เทคโนโลยีดิจิทัลนวัตกรรมและสิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่อไปคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง